วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2552

ข้อสอบ เรื่อง IPv6

ข้อสอบเรื่อง IPv6
1. IP Address มีชื่อเต็มว่า
ก. Internet Protocall Address
ข. Internet Protocol Address
ค. Internat Protocall Address
ง. Internets Protocol Address


2. ข้อใดเป็นลักษณะเฉพาะของ IP Address ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง
ก. ตัวเลขสามารถซ้ำกันได้ทุกตัว
ข. สามารถใช้เครื่องหมาย “;” คั่นระหว่างเลขแต่ละหลักได้
ค. ตัวเลขทุกตัวจะต้องไม่ซ้ำกัน
ง. แต่ละประเทศมีข้อกำหนดที่ต่างกัน
3. Internet Protocol version ใดที่ใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน
ก. IPv1
ข. IPv2
ค. IPv3
ง. IPv4
4. เหตุใดจึงมีการคิดค้น Internet Protocol version ใหม่ขึ้น
ก. เพราะ IP Address ที่มีอยู่ไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้ใช้
ข. เพราะต้องมีการคิดค้นเวอร์ชันใหม่ทุกๆ 3 ปี
ค. เป็นการลงมติเห็นชอบจากเวทีโลก
ง. ไม่มีข้อใดถูก


5. IPv4 และ IPv6 แตกต่างกันอย่างไร
ก. IPv4 มี 128 บิต IPv6 มี 64 บิต
ข. IPv4 มี 128 บิต IPv6 มี 32 บิต
ค. IPv4 มี 32 บิต IPv6 มี 128 บิต
ง. IPv4 มี 32 บิต IPv6 มี 64 บิต


6. ข้อใดผิด
ก. IPv6 ผู้บริหารมีส่วนในการบริหารจัดการงานมากขึ้น
ข. IPv6 ระบบมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
ค. IPv6 เครือข่ายมีการทำงานแบบ Real Time Processi

ง. IPv6 มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่ (Mobile IP)
7. เหตุใดประเทศในแถบอเมริกาเหนือจึงไม่มีความจำเป็นต้องใช้ IPv6
ก. เพราะสังคมเป็นแบบประชาธิปไตย
ข. เพราะมี IP Address ที่กำหนดขึ้นใช้เองเฉพาะชาวอเมริกัน
ค. เพราะมีรากฐานเศรฐกิจที่มั่มคง
ง. เพราะได้รับการจัดสรร IP Address ไปถึง 70% ของ IP Address ที่ใช้ทั่วโลก
8. แนวโน้มการพัฒนาด้านเทคโนโลยีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้ IP Address อย่างไร
ก. ทำให้ IP Address มีปริมาณเกินความต้องการ
ข. มีการนำเอา IP Address มาใช้กับเทคโนโลยี ทำให้ต้องการใช้ IP Address มากขึ้น
ค. เทคโนโลยีด้านอื่นจะเข้ามาแทนการใช้ IP Address
ง. การใช้ IP Address ควบคู่กับเทคโนโลยีจะถูกจำกัดในวงแคบ
9. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของการมี IP Address ที่อุปกรณ์อำนวยความสะดวกหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า
ก. สามารถส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็วในการสื่อสาร
ข. เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้เหมือนคอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่ต้องผ่านระบบใดๆ
ค. ทำให้ระบบภายในของอุปกรณ์นั้นๆ เกิดผลเสีย
ง. ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม


10. เหตุใดเราจึงควรศึกษาและทำความเข้าใจในเรื่อง IPv6
ก. เพราะหาก IPv4 ถูกใช้หมดไป IPv6 เป็นสิ่งที่จะแก้ปัญหานี้ได้
ข. เพื่อเตรียมตัวรับมือกับสถานการณ์ในอนาคต
ค. เพื่อความได้เปรียบทางธุรกิจและโอกาสในหลายๆ ด้าน
ง. ถูกต้องทุกข้อ


11.การขอหมายเลข IP Address จะต้องไปจดทะเบียนกับผู้รับจดทะเบียนอินเทอร์เน็ตระดับภูมิภาค หรือเรียกอีกอย่างว่า
ก. PIT
ข. RIR
ค. LPG
ง. PLI
12.ความจำเป็นในการใช้ IPv6 นั้นขึ้นอยู่กับความต้องการใช้อะไร

ก. mont
ข. IP Address
ค. toryt
ง. fopbfor
13. IPv4 นี้มีที่มาจากเลขฐานสองขนาดกี่บิต
ก. 36 บิต
ข. 32 บิต
ค. 45 บิต
ง. 40 บิต
14. IPv6 (Internet Protocol version 6) เป็นเวอร์ชันล่าสุดของอะไร

ก. Internet protobal
ข. Internet protoset
ค. Internet protocal
ง. Internet Protocol

15. IP v6 ได้กำหนดกฎในการระบุตำแหน่งเป็นกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท
ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท
ง. 4 ประเภท

16. IPv6 มีขนาดของ address กี่ไบท์
ก. 10 ไบท์
ข. 11 ไบท์
ค. 13 ไบท์
ง. 16 ไบท์


17. การเคลื่อน IPv6 packet จาก segment หนึ่งไปอีก segment หนึ่งมีความง่ายขึ้นด้วยโครงสร้างการค้นหาเส้นทางแบบใด
ก. แบบลำดับชั้น
ข. แบบผสม
ค. แบบต่อเนื่อง
ง. แบบล่าง

18. RIR ที่ได้จัดสรรหมายเลข IPv6 มากที่สุด คือ
ก. RIPL MCC
ข. RIPE NCC
ค. RIPT ACC
ง. RIPG TCC
19.
Pv6 สนับสนุนการปรับแต่งระบบแบบแบบใด
ก. แบบอัตโนมัติ
ข. แบบถาวร
ค. แบบชั่วคราว
ง. แบบต่อเนื่อง
20. IPv6 ได้รับการออกแบบให้ปฏิรูปกลุ่มของการปรับปรุง IP เวอร์ชัน ใด

ก. 2
ข. 3
ค. 4
ง. 5

วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ข้อสอบปลายภาควิชาระบบการสื่อสารข้อมูล2/47

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ข้อสอบปลายภาค
วิชา ระบบการสื่อสารข้อมูล 2/47

ตอนที่1
1.พื้นที่สัญญาณครอบคลุมการทำงานเรียกว่าอะไร
ก.AP ค.ESS
ข.BSS ง.DCF
2.ข้อใดไม่ถูกต้องในการกล่าวถึง Rang ของความถี่
ก. 902 MHz-928 MHz ค.5.725GHz-5.855GHz
ข.2.400 GHz-204835 GHz ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข.
จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามจากข้อ 3-8 **เขียนคำตอบลงในช่อง ก.
A. industry
B. Science
C. Medical
D. 900 MHz
E. 2.400 GHz
F. IEEE802.11a
G. IEEE802.11b
H. 54 Mbits
I. 2 Mbits
J. 11 Mbits
K. DSSS
L. FHSS
M. ISM
F 3. Data Rate สูงสุดที่สามารถส่งข้อมูลได้ใน wireless Lan ที่ใช้ Machanism แบบOFDM
E 4.Radio Frequency ที่ใช้งานเยอะที่สุดใน IEEE802.11
K 5.IEEE802.11ใช้ mechanism แบบใด
K 6.Machanism แบบใดที่มี Data Rate 11 Mbits
M 7. ย่านความถี่ที่อนุญาตให้ได้ในงานอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และการแพทย์
8. Radio frequency 2.400 GHz มีกี่ channel
ก. 54
ข. 69
ค. 79
ง. 8
9. ในการ hop แต่ละ hop ใช้การ synchronize ต่างกันเท่าไหร่
**ก. 0.4 ms per hop*
ข. 0.45 ms per hop
ค. 0.2 ms per hop
ง. 0.25 ms per hop
10. สถาปัตยกรรมของ Wireless lan ใน mode ใดที่ต้องเดินสาย wire network
ก. Ad-hoc
ข. Peer to peer
ค. Infrastructure*
ง. Bss
11. Routing protocol มีกี่แบบ อะไรบ้าง
ก. 2 แบบ Link state & Distance Vector
ข. 2 แบบ Link state & Dynamic
ค. 2 แบบ Dynamic & Static
ง. 2 แบบ BGP & SPF
12. ข้อใดไม่ใช่ข้อพิจารณาลักษณะของ routing ที่ดี
ก. Cost ต่ำ
ข. Delay ต่ำ
ค. Space ต่ำ
ง. Hop ต่ำ
13. Protocol BGP พิจารณาการส่งข้อมูลจากอะไร
ก. จำนวนลิงค์
ข. ระยะทาง
ค. จำนวน Router
ง. ราคาเช่า
14. ลักษณะสำคัญของ Routing table ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ก. ต้นทาง
ข. ปลายทาง
ค. ต้นทาง ปลายทาง
ง. ต้นทาง โปรโตคอล ปลายทาง


15. OSFP (Open Shortest Path First) เป็นชื่อของ
ก. Algorithm
ข. Protocol
ค. Router
ง. Routing Table
16. ชนิดของเส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้รับ- ส่งข้อมูลในระยะทางไกล ๆ
ก. Grade index Multimode
ข. Step index Multimode
ค. Single Mode
ง. ถูกทุกข้อ

17. แกนกลางที่เป็นใยแก้วนำแสงเรียกว่าอะไร
ก. Jacket ค. Cladding
ข. Core ง. Fiber
18. แสงที่เดินทางในเส้นใยแก้วนำแสงจะตกกระทบตรงมุม คือลักษณะของเส้นใยแบบใด
ก. Grade Index Multimode ค. Single Mode
ข. Step Index Multimode ง. ถูกทุกข้อ
19. แสงที่เดินทางในเส้นใยแก้วนำแสงจะเป็นเส้นตรง คือลักษณะของเส้นใยแก้วแบบใด
ก. Grade Index Multimode ค. Single Mode
ข. Step Index Multimode ง. ถูกทุกข้อ

20. ต้นกำหนดแสง(optical source) ที่มี Power ของแสงเข้มข้น
ก. Laser ค. APD
ข. LED ง. PIN-FET
21. ข้อใดคือ Fast Ethernet
ก. 10base5 ค. 1000baseFX
ข. 100baseFL ง. 10GbaseTX
22. 10BaseF ใช้สายสัญญาณอะไรในการส่งข้อมูล
ก. UTP ค. Coaxial
ข. STP ง. Fiber Optic

23. ข้อใดไม่ใช่ Ethernet แบบ 100 mbps
ก. 1000BaseT ค. 1000BaseX
ข. 100BaseTX ง. 1000BaseFL

24. ขนาด Frame ที่เล็กที่สุดของ Gigbit Ethernet คือ
ก. 53 byte ค. 128 byte
ข. 64 byte ง. 512 byte
25. Ethernet ใช้ protocol ใดในการตรวจสอบการส่งข้อมูล
ก. LLC ค. CSMA/CD
ข. CSMA/CA ง. ALOHA
26. Ethernet 10baseT ต่อยาวกี่เมตรสูงสุด
ก. 80 ม. ค. 150 ม.
ข. 100 ม. ง. 185 ม.
เฉลย ข. 100 ม.
27. ใครเป็นผู้กำหนดมาตรฐานของ Ethernet
ก. OSI ค. ISO ข. IEEE ง. CCITT
28. 10Base5 ใช้สาย Coaxial แบบใด
ก. Thin ค. UTP
ข. Thick ง. STP
29. Fast Ethernet มีความเร็วเท่าใด
ก. 10 mbps ค. 1000 mbps
ข. 100 mbps ง. 10 Gbps
30. 100Mbps, baseband, long wavelength over optical fiber cable คือมาตรฐานของ
ก. 1000 Base-LX ค. 1000 Base-T2
ข. 1000 Base-FX ง. 1000 Base-T4
31. ATM มีขนาดกี่ไบต์
ก. 48 ไบต์ ค. 64 ไบต์
ข. 53 ไบต์ ง. 123 ไบต์
32. CSMA พัฒนามาจาก
ก. CSMA/CA ค. CSMA ข. CSMA/CD ง. ALOHA
33. Internet เกิดขึ้นที่ประเทศอะไร
ก. AU ค. USA ข. JP ง. TH
34. เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการขนถ่ายข้อมูล หรือ Transport technology
ก. SDH ค. Mobile
ข. ATM ง. DWDM
35. ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
ก. CS internet ค. Admin
ข. Operator ง. ISP
36. การแจกจ่ายหมายเลขไอพีแอดเดรส ให้กับเครื่องลูกโดยอัตโนมัติเรียกว่าอะไร
ก. DNS ค. DHCP ข. FTP ง. Proxxy

37. การถ่ายโอนข้อมูลบนระบบอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
ก. DNS
ข. FTP
ค. DHCP
ง. Proxxy
38. โปรโตคอลการสื่อสารที่เป็น offline
ก. ICMP
ข. TCP
ค. UDP
ง. ARP
39. การหาเส้นทางการส่งข้อมูลเรียกว่า
ก. Routing
ข. Routing Protocol
ค. Routing Table
ง. Router
40. ข้อใดไม่มีในขั้นตอนการทำ server 7 พ.ค 48
ก. DHCP
ข. DNS
ค. FTP
ง. Virtual host
41. หมายเลข IP Class ใดรองรับการทำงานของ host ได้สูงสุด
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D
42. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างชนิดเข้าด้วยกันคือ
ก. Hub
ข. Switching
ค. Modem
ง. Router
43. การ set ค่าความสำคัญสูงสุด (High priority) ของ packet เป็นหน้าที่ของ function ใดต่อไปนี้
ก. PIFS
ข. SIFS
ค. DIFS
ง. MIB
44. การป้องกันการชนกันของการส่งข้อมูลใด WLAN ใช้หลักการใด
ก. ALOHA
ข. CSMA
ค. CSMA/CA
ง. CSMA/CD
45. Data Rate สูงสุดขนาด 54 Mb ที่ใช้ส่งได้ใน WLAN ใช้มาตรฐานใดและใช้หลัก mechanism (กลไกการส่ง) แบบใด
ก. IEEE802.11a; DSSS
ข. IEEE802.11b; FHSS
ค. IEEE802.11a; OFDM
ง. IEEE802. 11b; OFDM

46. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณ D/A คือ
ก. Hub
ข. Switching
ค. Modem
ง. Router
47. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รอดแคสสัญญาณ (Broadcast) คือ
ก. Hub
ข. Switching
ค. Modem
ง. Router
48. Mechanism ใดของ WLAN ที่มีการรบกวน (Interference) สูงที่สุดใด
ก. Diffuse IR
ข. DSSS
ค. OFDM
ง. FHSS
49. CIDR 192.168.0.0/24 จะมีค่า subnet mask เท่าใด
ก. 255.255.0.0
ข. 255.255.128.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.192
50. การ Roaming ใช้กับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่าง
ก. AP กับ AP
ข. AP กับ AP
ค. AP กับ BSS
ง. BSS กับ ESS

วันพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ข้อสอบ topology

ข้อสอบ 5 ข้อปรนัย

1.ข้อใดคือข้อเสียของการเชื่อมต่อแบบ Ring Topology
1. ใช้สายเคเบิลจำนวนมาก
2. ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ส่วนกลางเสียเป็นผลให้ระบบล้มเหลว
3. ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียจะเป็นผลกระทบทั้งระบบ
4. ต้องมีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการติดตั้งระบบ

2.Topogogy แบบใดที่ใช้สายเคเบิลน้อยที่สุด
1. Star Topology
2. Bus Topology
3. Ring Topology
4. Mesh Topology

3.การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้สายเคเบิลร่วมกันเป็นการเชื่อมต่อแบบใด
1. Star Topology
2. Ring Topology
3. Bus Topology
4. Mesh Topology

4.การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบใดที่ข้อมูลวิ่งแบบทางเดียวบนสายสัญญษณ
1. ฺStar Topology
2. Bus Topology
3. Star-Ring Topology
4. Ring Topology

5.การแบ่งปันการใช้ข้อมูลในระบบเครือข่ายยุคแรก ๆ ใช้การบันทึกข้อมูลลงดิสก์แล้วส่งไปยังผู้ใช้รายอื่น ๆ เรียกระบบเครือข่ายแบบนี้ว่าอะไร
1. Diskette Netwrok
2. LinkerNet
3. SneakerNet
4. Topology

topology

Topology
รูปแบบของการเชื่อมโยงเครือข่าย หรือโทโปโลยี (LAN Topology)โทโปโลยีคือลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของระบบเครือข่าย ซึ่งหมายถึง ลักษณะของการเชื่อมโยงสายสื่อสารเข้ากับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ภายในเครือข่ายด้วยกันนั่นเอง โทโปโลยีของเครือข่าย LAN แต่ละแบบมีความเหมาะสมในการใช้งาน แตกต่างกันออกไป การนำไปใช้จึงมีความจำเป็นที่เราจะต้องทำการศึกษาลักษณะและคุณสมบัติ ข้อดีและข้อเสียของโทโปโลยีแต่ละแบบ เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบพิจารณาเครือข่าย ให้เหมาะสมกับการใช้งาน รูปแบบของโทโปโลยี ของเครือข่ายหลัก ๆ มีดังต่อไปนี้
1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกว่า BUS หรือ แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node)
2.โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย ทั้งเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ( Server) และ เครื่องที่เป็นผู้ขอใช้บริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลม ข้อมูลข่าวสารที่ส่งระหว่างกัน จะไหลวนอยู่ในเครือข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์เช่นเดียวกับเครือข่ายแบบ BUS ในแต่ละโหนดหรือแต่ละเครื่อง จะมีรีพีตเตอร์ (Repeater) ประจำแต่ละเครื่อง 1 ตัว ซึ่งจะทำหน้าที่เพิ่มเติมข้อมูลที่จำเป็นต่อการติดต่อสื่อสารเข้าในส่วนหัวของแพ็กเกจที่ส่ง และตรวจสอบข้อมูลจากส่วนหัวของ Packet ที่ส่งมาถึง ว่าเป็นข้อมูลของตนหรือไม่ แต่ถ้าไม่ใช่ก็จะปล่อยข้อมูลนั้นไปยัง Repeater ของเครื่องถัดไป
3.โทโปโลยีแบบดาว (STAR) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะต้องส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือขายต่อไป
4.โทโปโลยีแบบ Hybrid เป็นรูปแบบใหม่ ที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เข้าด้วยกัน เพื่อเป็นการลดข้อเสียของรูปแบบที่กล่าวมา และเพิ่มข้อดี ขึ้นมา มักจะนำมาใช้กับระบบ WAN (Wide Area Network) มาก ซึ่งการเชื่อมต่อกันของแต่ละรูปแบบนั้น ต้องใช้ตัวเชื่อมสัญญาญเข้ามาเป็นตัวเชื่อม ตัวนั้นก็คือ Router เป็นตัวเชื่อมการติดต่อกันรือข่ายต่อไป
5.โทโปโลยีแบบ MESH เป็นรูปแบบที่ถือว่า สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด เป็นรูปแบบที่ใช้วิธีการเดินสายของแต่เครื่อง ไปเชื่อมการติดต่อกับทุกเครื่องในระบบเครือข่าย คือเครื่องทุกเครื่องในระบบเครือข่ายนี้ ต้องมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่อง ระบบนี้ยากต่อการเดินสายและมีราคาแพง จึงมีค่อยมีผู้นิยมมากนักประเภทของระบบเครือข่าย Lan ซึ่งแบ่งตามลักษณะการทำงานในการแบ่งรูปแบบการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย Lan นั้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่การเชื่อมต่อแบบ Peer - To - Peer และแบบ Client / Server

การจัดรูปโครงสร้างของอุปกรณ์สื่อสารเพื่อจัด ของเครื่องถัดไปงเป็นระบบเครือข่ายสามารถกระทำได้หลายแบบดังนี้
1. ระบบเครือข่ายที่แบ่งประเภทโดยพิจารณาจากการจัดโครงสร้างอุปกรณ์เป็นหลัก เรียกว่า การจัดรูปทรงระบบเครือข่าย (Topology) ได้แก่ ระบบเครือข่ายแบบดาว แบบบัส และแบบวงแหวน เป็นต้น
2. ระบบเครือข่ายตามขนาดทางกายภาพของระยะทางในการส่งข้อมูลเป็นหลัก ได้แก่ เครือข่ายเฉพาะบริเวณ (LAN) เครือข่ายในเขตเมือง (MAN) เครือข่ายวงกว้าง (WAN) และเครือข่ายสหภาค (Internetwork)
3. ระบบเครือข่ายที่พิจารณาจากขอบเขตการใช้งานขององค์กร เช่น เครือข่ายอินทราเนต (Intranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเนต( Extranet) และเครือข่ายสากล (Internet)การจัดรูปทรงระบบเครือข่าย (Topology)


e-Learning

e-Learning ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ภายใต้ชื่อโครงการ มหาลัยไซเบอร์ไทย www.tcu.uin.net.th/tcu
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จัดทำรายวิชา E-learning เพื่อนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ และ ผู้สนใจทั่วไปได้เข้ามาศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้ผู้ที่ใช้ผ่านมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงสามารถใช้
user : elearningMFLU
passwordr : mflu
และทดลองเรียนด้วย
user : mflustudent
passwordr : mfl
เป็นโครงการที่เปิดโอกาศให้นักศึกษาที่สนใจเข้าร่วมโครงการได้มาทำกิจกรรม

"e-Learining ที่เกี่ยวข้อง"

e-Learning
http://e-learning.tu.ac.th/ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
http://e-learning.mfu.ac.th/ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
http://regelearning.payap.ac.th/ มหาวิทยาลัยพายัพ
http://elearning.utcc.ac.th/lms/main/default.asp มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
http://md.rmutk.ac.th/ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
http://e-learning.kku.ac.th/ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
http://space.kbu.ac.th/el/index.asp มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
http://elearning.dusit.ac.th/xedu/Home.aspx มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
http://www.bsru.ac.th/~mua/regis/d_sc248.htm = มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา http://csit.aru.ac.th/content/blogcategory/0/5/ = มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำอธิบายรายวิชา เครือขายคอมพิวเตอร์และการกระจาย

4122102 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการกระจาย

(Computer Network and Distributed)
คำอธิบายรายวิชา (Course Description) ความรู้เบื้องต้นเบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เครือข่าย การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับเทอร์มินอล ชั้นของโปรโตคอลมาตรฐาน OSI รูปแบบต่าง ๆ ของเครือข่าย X.25 เนตเวิร์คและดิจิตอลเนตเวอร์ค การประมวลผลแบบตามลำดับและแบบขนาน การไปป์ไลน์ (Pipelining) การประมวลผลแบบเวคเตอร์ (Vector Processing) การประมวลผลแบบอะเรย์ (Array Processors) มัลติโปรเซสเชอร์ (Multiprocessor) และฟอลท์โทเลอร์แรนซ์ (Fault Tolerance)

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Data Communication and Computer Network)
-แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล ส่วนประกอบของการติดต่อสื่อสารข้อมูล ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายบริเวณเฉพาะที่ ระเบียบวิธีการเครือข่าย มาตรฐานของเครือข่าย การวางแผนและการออกแบบระบบเครือข่าย การสื่อสารข้อมูลในชั้นของการเชื่อมต่อระหว่างระบบเปิด ระดับชั้นของการควบคุม การควบคุมการเชื่อมโยงระดับกายภาพ เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
-Concepts of data communication, components of data communication, types of computer networks, local area network, network topologies, network protocal standards, network system planning and designing, data communication layers in open system interconnection: layer of control, physical link control, data communication technology.